วันพฤหัสบดีที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2556

ไม่มีอะไรจะคุยกับเธอ - แสน นากา [Official MV]



ชอบเพราะ การที่เราทำอะไรกับเขาไปหรือทิ้งเขาไป เช่น การที่เราไปมีคนใหม่
                    แล้วเราก็ทิ้งเขาไปอย่างง่ายดาย มันจะทำให้เขาเสียใจ ทำให้เขาโกธเคือง
                    แต่พอถึงวันที่เราเสียใจกับคนใหม่ เราก็จะไม่สามารถกลับไปเอาคนเก่าคืนมาได้

วันพุธที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2556

ข่าวสารเทคโนโลยี

Olympus เปิดตัว OM-D E-M1 รุ่นต่อของ E-5 ในร่าง micro 4/3

Olympus เปิดตัวกล้องซีรีส์ OM-D รุ่นที่สองแล้วในชื่อรุ่น OM-D E-M1 ที่ทาง Olympus เองบอกว่าไม่ได้มาแทน OM-D ตัวแรก (รหัส OM-D E-M5) แต่เป็นตัวต่อจาก E-5 กล้อง DSLR ตัวท็อปที่ขายตั้งแต่ปี 2010 นั่นเอง
ด้วยความที่ Olympus ออกตัวมาแบบนั้น OM-D E-M1 จึงมีสเปคเหนือกว่า OM-D E-M5 แทบทุกส่วน สเปคคร่าวๆ มีดังนี้ครับ
  • ใช้เซนเซอร์ m4/3 ความละเอียด 16.3 เมกะพิกเซล พร้อมชิปสำหรับโฟกัสแบบ phase detection ในตัว
  • จำนวนจุดโฟกัสทั้งหมด 81 จุด
  • ความเร็วชัตเตอร์สูงสุดที่ 1/8000 วินาที ปรับ ISO ได้ตั้งแต่ 100-25600
  • ชิปประมวลผลภาพรุ่นใหม่ TruePIC VII
  • ระบบกันสั่นในตัวแบบ 5 แกน
  • จอภาพด้านหลังขนาด 3″ ความละเอียด 1,037,000 พิกเซล รองรับการสัมผัส ปรับองศาหน้าจอได้
  • ช่องมองภาพอิเล็กทรอนิกส์แบบเต็ม กำลังขยาย 1.3 เท่า ความละเอียด 2,360,000 พิกเซล
  • รองรับ Wi-Fi
  • น้ำหนักรวมแบตเตอรี่แล้วอยู่ที่ 497 กรัม (ไม่รวมเลนส์)
ตัวเครื่องของ OM-D E-M1 ทำจากแม็กนีเซียมอัลลอย และแม้ว่าจะมาในทรงโบราณ แต่ก็สามารถกันน้ำ กันฝุ่น กันความเย็นได้อย่างที่รุ่นท็อปควรจะเป็น รวมถึงมีปุ่มสำหรับปรับตั้งค่าให้จำนวนมาก
Olympus เปิดราคา OM-D E-M1 มาที่ 1,399 เหรียญ เฉพาะตัวเครื่องอย่างเดียว เริ่มขายกันยายนนี้
Olympus OM-D E-M1
พร้อมกับการเปิดตัว OM-D E-M1 ในวันเดียวกัน Olympus ได้เปิดตัวเลนส์เกรดโปรของ m4/3 เพิ่มอีกรุ่นคือ M.Zuiko Digital ED 12-40mm F2.8 PRO ที่สามารถกันน้ำ กันฝุ่น กันความเย็นได้เหมือนกับตัวกล้อง เริ่มขายแล้ววันนี้ด้วยราคา 999 เหรียญ
M.Zuiko Digital ED 12-40mm F2.8 PRO
ปิดท้ายด้วยความคืบหน้าของเลนส์ซูม M.Zuiko Digital ED 40-150mm F2.8 PRO เลนส์เกรดโปรอีกตัวในไลน์ m4/3 ที่กำลังพัฒนาในตอนนี้ บอกวันขายคร่าวๆ ว่าเป็นปลายปี 2014 ครับ
M.Zuiko Digital ED 40-150mm F2.8 PRO
ที่มา – Blognone dpreview 12

วันศุกร์ที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

แบบทดสอบบทที่ 4 เรื่อง ซอฟต์แวร์
https://docs.google.com/forms/d/1ttpu-ii_aE_dNNsAaSE_kgjDxHnrVdRjGG17DCYlgHY/viewformคลิ๊กเพื่อทำแบบทดสอบ

วันพฤหัสบดีที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

รหัส ASCII (American Standard Code for Information Interchange)

         รหัสแอสกี เป็นรหัสที่นิยมใช้กันมาก จนสามมารถนับได้ว่าเป็นรหัสมาตรฐานที่ใช้ใน การสื่อสารข้อมูล ( Data Communications) ซึ่งจำเป็นต้องใช้รหัสการแทนข้อมูลเป็นระบบเดียวกัน เพื่อให้สามารถรับ - ส่งข้อมูลได้ในความหมายเดียวกัน รหัสแอสกีใช้เลขฐานสอง 8 หลักแทนข้อมูลหนึ่งตัวเช่นเดียวกับรหัสเอบซีดิค นั่นคือ 1 ไบต์มีความยาวเท่ากับ 8 บิต รวมทั้งมีการแบ่งรหัสออกเป็นสองส่วน คือ โซนบิตและนิวเมอริกบิตเช่นเดียวกัน




รหัส Unicode

เป็นรหัสแบบใหม่ล่าสุด ถูกสร้างขึ้นมาเนื่องจากรหัสขนาด 8 บิตซึ่งมีรูปแบบเพียง 256 รูปแบบ ไม่สามารถแทนภาษาเขียนแบบต่าง ๆ ในโลกได้ครบหมด โดยเฉพาะภาษาที่เป็นภาษาภาพ เช่น ภาษาจีนหรือภาษาญี่ปุ่นเพียงภาษาเดียวก็มีจำนวนรูปแบบเกินกว่า 256 ตัวแล้ว  UniCode จะเป็นระบบรหัสที่เป็น 16 บิต จึงแทนตัวอักษรได้มากถึง 65,536 ตัว ซึ่งเพียงพอสำหรับตัวอักษรและสัญลักษณ์กราฟฟิกโดยทั่วไป รวมทั้งสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ต่าง ๆ ในปัจจุบันระบบ UniCode มีใช้ในระบบปฏิบัติการWindow NT ระบบปฏิบัติการ UNIX บางรุ่น รวมทั้งมีการสนับสนุนชนิดข้อมูลแบบ UniCode ในภาษา JAVA ด้วย


POTSHARA POKSAKUL

P= 0111 0000
O= 0110 1111
T= 0111 0100
S= 0111 0011
H= 0110 1000
A= 0110 0001
R= 0111 0010
A= 0110 0001

P= 0111 0000
O= 0110 1111
K= 0110 1011
S= 0111 0011
A= 0110 0001
K= 0110 1011
U= 0111 0101
L= 0110 1100

วันพฤหัสบดีที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

บิตตรวจสอบ

- เลขฐานสองที่ใช้ในคอมพิวเตอร์มีอัตตราความผิดพลาดต่ำ เพราะมีค่าความไปได้0 หรือ 1เท่านั้น แต่ก็อาจจะเกิดข้อบกพร่องขึ้นได้ภายในหน่วยความจำ
- ดังนั้น บิตตรวจสอบ หรือ พาริตี้บิต จึงเป็นบิตที่เพิ่มเติมเข้ามาต่อท้ายอีก 1 บิต ซึ่งถือเป็นบิตพิเศษที่ใช้สำหรับตรวจสอบความแม่นยำและความถูกต้องของข้อมูลที่จะจัดเก็บลงในคอมพิวเตอร์

วันศุกร์ที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2556

ยุคของคอมพิวเตอร์

      ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ สามารถแบ่งออกได้เป็นยุคๆตามช่วงเวลา และมีเหตุการณ์สำคัญๆ รวมถึงจุดเปลี่ยนแปลงเด่นๆ

คอมพิวเตอร์ยุคที่  1
     ยุคนี้เริ่มตั้งแต่ ค.ศ. 1944 เป็นต้นมา หรือประมาณปี พ.ศ. 2494 – 2502 เทคโนโลยีที่ใช้สร้างคอมพิวเตอร์ในยุคนี้จะใช้หลอดสุญญากาศ และวงจรไฟฟ้า ซึ่งต้องใช้พลังความร้อนในขณะทำงานสูง ดังนั้นเครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคนี้จึงมีขนาดใหญ่และต้องใช้เครื่องปรับอากาศมาช่วยในการระบายความร้อน นอกจากนั้นยังมีการใช้เทปกระดาษหรือบัตรเจาะรูในการรับส่งข้อมูล สำหรับปัญหาที่เกิดในยุคนี้จะเป็นปัญหาในด้านการบำรุงรักษา และการซ่อมแซมเครื่องเพื่อให้เครื่องสามารถทำงานได้ นอกจากนั้นการใช้คำสั่งในการสั่งงานก็ค่อนข้างยาก เพราะสวนมากแล้วในการทำงานต้องสั่งงานโดยใช้ภาษาเครื่อง (Machine Language) ซึ่งจะถือเป็นภาษาระดับต่ำ รหัสคำสั่งต่าง ๆ จะจดจำค่อนข้างยาก การใช้งานคอมพิวเตอร์ในยุคนี้ส่วนใหญ่จะเป็นงานทางด้านวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ส่วนงานทางด้านธุรกิจมีการเริ่มใช้ในยุคนี้เช่นกัน แต่มีการใช้ที่ค่อนข้างน้อย



คอมพิวเตอร์ยุคที่  2
  มีการนำทรานซิสเตอร์ มาใช้ในเครื่องคอมพิวเตอร์จึงทำให้เครื่องมีขนาดเล็กลง และสามารถเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานให้มีความรวดเร็วและแม่นยำมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ในยุคนี้ยังได้มีการคิดภาษาเพื่อใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์เช่น ภาษาฟอร์แทน (FORTRAN) จึงทำให้ง่ายต่อการเขียนโปรแกรมสำหรับใช้กับเครื่อง
ลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอร์ยุคที่ 2
  • ใช้อุปกรณ์ ทรานซิสเตอร์ (Transistor) ซึ่งสร้างจากสารกึ่งตัวนำ (Semi-Conductor) เป็นอุปกรณ์หลัก แทนหลอดสุญญากาศ เนื่องจากทรานซิสเตอร์เพียงตัวเดียว มีประสิทธิภาพในการทำงานเทียบเท่าหลอดสุญญากาศได้นับร้อยหลอด ทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคนี้มีขนาดเล็ก ใช้พลังงานไฟฟ้าน้อย ความร้อนต่ำ ทำงานเร็ว และได้รับความน่าเชื่อถือมากยิ่งขึ้น
  • เก็บข้อมูลได้ โดยใช้ส่วนความจำวงแหวนแม่เหล็ก (Magnetic Core)
  • มีความเร็วในการประมวลผลในหนึ่งคำสั่ง ประมาณหนึ่งในพันของวินาที (Millisecond : mS)
  • สั่งงานได้สะดวกมากขึ้น เนื่องจากทำงานด้วยภาษาสัญลักษณ์ (Assembly Language)
เริ่มพัฒนาภาษาระดับสูง (High Level Language)ขึ้นใช้งานในยุคนี้
 


ยุคของคอมพิวเตอร์ยุคที่  3
     คอมพิวเตอร์ในยุคนี้เริ่มต้นภายหลังจากการใช้ทรานซิสเตอร์ได้เพียง 5 ปี เนื่องจากได้มีการประดิษฐ์คิดค้นเกี่ยวกับวงจรรวม (Integrated-Circuit) หรือเรียกกันย่อๆ ว่า "ไอซี" (IC) ซึ่งไอซีนี้ทำให้ส่วนประกอบและวงจรต่างๆ สามารถวางลงได้บนแผ่นชิป (chip) เล็กๆ เพียงแผ่นเดียว จึงมีการนำเอาแผ่นชิปมาใช้แทนทรานซิสเตอร์ทำให้ประหยัดเนื้อที่ได้มาก 
ลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอร์ยุคที่ 3
  • ใช้อุปกรณ์ วงจรรวม (Integrated Circuit : IC) หรือ ไอซี และวงจรรวมสเกลขนาดใหญ่ (Large Scale Integration : LSI) เป็นอุปกรณ์หลัก
  • ความเร็วในการประมวลผลในหนึ่งคำสั่ง ประมาณหนึ่งในล้านของวินาที (Microsecond : mS) (สูงกว่าเครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 1 ประมาณ 1,000 เท่า)


ยุคของคอมพิวเตอร์ยุคที่  4
     เป็นยุคที่นำสารกึ่งตัวนำมาสร้างเป็นวงจรรวมความจุสูงมาก (Very Large Scale Integrated : VLSI) ซึ่งสามารถย่อส่วนไอซีธรรมดาหลายๆ วงจรเข้ามาในวงจรเดียวกัน และมีการประดิษฐ์ ไมโครโพรเซสเซอร์ (Microprocessor) ขึ้น ทำให้เครื่องมีขนาดเล็ก ราคาถูกลง และมีความสามารถในการทำงานสูงและรวดเร็วมาก จึงทำให้มีคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal Computer) ถือกำเนิดขึ้นมาในยุคนี้
ลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอร์ยุคที่ 4
ใช้อุปกรณ์ วงจรรวมสเกลขนาดใหญ่ (Large Scale Integration : LSI) และ วงจรรวมสเกลขนาดใหญ่มาก (Very Large Scale Integration : VLSI) เป็นอุปกรณ์หลัก
มีความเร็วในการประมวลผลแต่ละคำสั่ง ประมาณหนึ่งในพันล้านวินาที (Nanosecond : nS) และพัฒนาต่อมาจนมีความเร็วในการประมวลผลแต่ละคำสั่ง ประมาณหนึ่งในล้านล้านของวินาที (Picosecond : pS)

ยุคของคอมพิวเตอร์ยุคที่  5
       ในยุคนี้ ได้มุ่งเน้นการพัฒนา ความสามารถในการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ และ ความสะดวกสบายในการใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ อย่างชัดเจน มีการพัฒนาสร้างเครื่องคอมพิวเตอร์แบบพกพาขนาดเล็กขนาดเล็ก (Portable Computer) ขึ้นใช้งานในยุคนี้
โครงการพัฒนาอุปกรณ์ VLSI ให้ใช้งานง่าย และมีความสามารถสูงขึ้น รวมทั้งโครงการวิจัยและพัฒนาเกี่ยวกับ ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence : AI) เป็นหัวใจของการพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ในยุคนี้ โดยหวังให้ระบบคอมพิวเตอร์มีความรู้ สามารถวิเคราะห์ปัญหาด้วยเหตุผล
องค์ประกอบของระบบปัญญาประดิษฐ์ ประกอบด้วย 4 หัวข้อ ได้แก่
1. ระบบหุ่นยนต์ หรือแขนกล (Robotics or Robotarm System)
คือหุ่นจำลองร่างกายมนุษย์ที่ควบคุมการทำงานด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ มีจุดประสงค์เพื่อให้ทำงานแทนมนุษย์ในงานที่ต้องการความเร็ว หรือเสี่ยงอันตราย เช่น แขนกลในโรงงานอุตสาหกรรม หรือหุ่นยนต์กู้ระเบิด เป็นต้น 
2. ระบบประมวลภาษาพูด (Natural Language Processing System) 
คือ การพัฒนาให้ระบบคอมพิวเตอร์สามารถสังเคราะห์เสียงที่มีอยู่ในธรรมชาติ (Synthesize) เพื่อสื่อความหมายกับมนุษย์ เช่น เครื่องคิดเลขพูดได้ (Talking Calculator) หรือนาฬิกาปลุกพูดได้ (Talking Clock) เป็นต้น
3. การรู้จำเสียงพูด (Speech Recognition System) 
คือ การพัฒนาให้ระบบคอมพิวเตอร์เข้าใจภาษามนุษย์ และสามารถจดจำคำพูดของมนุษย์ได้อย่างต่อเนื่อง กล่าวคือเป็นการพัฒนาให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานได้ด้วยภาษาพูด เช่น งานระบบรักษาความปลอดภัย งานพิมพ์เอกสารสำหรับผู้พิการ เป็นต้น
4. ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System)คือ การพัฒนาให้ระบบคอมพิวเตอร์มีความรู้ รู้จักใช้เหตุผลในการวิเคราะห์ปัญหา โดยใช้ความรู้ที่มี หรือจากประสบการณ์ในการแก้ปัญหาหนึ่ง ไปแก้ไขปัญหาอื่นอย่างมีเหตุผล ระบบนี้จำเป็นต้องอาศัยฐานข้อมูล (Database) ซึ่งมนุษย์ผู้มีความรู้ความสามารถเป็นผู้กำหนดองค์ความรู้ไว้ในฐานข้อมูลดังกล่าว เพื่อให้ระบบคอมพิวเตอร์สามารถวิเคราะห์ปัญหาต่างๆ ได้จากฐานความรู้นั้น เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์วิเคราะห์โรค หรือเครื่องคอมพิวเตอร์ทำนายโชคชะตา เป็นต้น 

ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ เหตุการณ์และผลงานที่สำคัญ



      
     Charles Babbage (26 ธันวาคม 1791 – 18 ตุลาคม 1871) เขาเป็นนักคณิตศาสตร์ นักปรัชญาวิเคราะห์ และเป็นนักวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ เนื่องจากเขาเป็นคนแรก ที่มีแนวคิดเรื่องเครื่องคำนวณที่สามารถโปรแกรมหรือสั่งให้ทำงานได้ เครื่องในจินตนาการของเขายังไม่เสร็จสมบูรณ์ เขาก็เสียชีวิตก่อนที่จะได้เห็นความฝันของเขาเป็นจริง ปัจุบันนี้ผลงานของเขาไว้ถูกเก็บและแสดงไว้ที่พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ลอนดอน ผลงานนั้นคือเครื่องคำนวณหาผลต่าง (Difference Engine) และเมื่อปี 1991 นี้เองที่เครื่องหาผลต่างนี้ถูกสร้างให้เสร็จสมบูรณ์ตามแบบที่ Babbage ได้
     
     เอดา ไบรอน เลิฟเลซ (Lady Augusta Ada Byron, Countess of Lovelace) เป็นบุตรสาวของ ลอร์ด ไบรอน เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2358 ซึ่งเหตุการณ์ที่น่าเศร้าก็คือ หลังจากเธอเกิดได้ไม่นาน พ่อแม่ของเธอก็แยกทางกัน แม่เป็นผู้เลี้ยงดูเอดา จึงตัดสินใจที่จะเลี้ยงเธอให้เป็นผู้หญิงยุคใหม่ จึงให้เอดาเรียนหนังสือโดนเน้นทางด้านคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ต่างไปจากกุลสตรีในตระกูลใหญ่ๆ ของอังกฤษทั่วไป
     เมื่อเธอออายุ 17 ปี ได้รู้จัก Mrs. Somerville แห่งเคมบริดจ์ โดยนับได้ว่าเป็นผู้หญิงเก่งแห่งยุค เอดาจึงเข้ามาคลุกคลีกับเพื่อนกลุ่มนี้ จนวันหนึ่งได้รู้จักกับ ชาลส์ แบบบิจ ในงานสังสรรค์แห่งหนึ่ง ซึ่งในงานวันนั้น ตอนที่แบบบิจกล่าวว่า “what if a calculating engine could not only foresee but could act on that foresight” (จะเป็นอย่างไร ถ้าหากเครื่องคำนวณไม่เพียงสามารถหยั่งรู้ได้ หากแต่สามารถตอบสนองต่อการหยั่งรู้นั้นได้ด้วย) แต่ไม่มีใครสนใจแนวคิดนี้ของแบบบิจเลย ยกเว้นเอดา ซึ่งเธอรู้สึกสนใจในงานนี้เป็นอย่างมาก จนอาสาที่จะช่วยพัฒนา โดยสิ่งที่เธอทำคือ การสร้างภาษาสำหรับเครื่องวิเคราะห์ (analytical engine) ของแบบเบจ

    
     Herman Hollerith 's บิดามารดาได้อพยพไปสหรัฐอเมริกาจากประเทศเยอรมนีใน 1,848 หลังจาก disturbances ทางการเมืองในประเทศที่. โรงเรียนไม่ได้อย่างง่ายสำหรับ Herman แม้ว่าที่เขาฉลาด. Ashurst recounts:Herman จะกล่าวได้รับเด็กสดใสและสามารถที่โรงเรียนแต่ก็ไม่สามารถเรียนรู้การสะกดคำได้อย่างง่ายดาย. พิจารณาครูทำชีวิตของเขายากไร้ในขอบเขตที่เขาใช้เพื่อหลีกเลี่ยงการโรงเรียนเมื่อทำได้และพยายามหนีเมื่อพบครูของเขาซึ่งได้เปลี่ยนใหม่เพื่อปรับปรุงการสะกดของเขา
     ดังนั้นปัญหาเหล่านี้ทางโรงเรียนได้ที่ Herman ถ่ายที่สุดอยู่ห่างจากโรงเรียนและเขา tutored ส่วนตัวที่บ้านโดยรัฐมนตรี Lutheran ครอบครัวของ Hollerith ป้อน City College of New York ใน 1,875 และเขาเป็นบัณฑิตด้านวิศวกรรมของ Columbia School of เหมืองใน 1,879, ได้รับความแตกต่างในการสอบครั้งสุดท้ายของเขา. บันทึกระดับปริญญาตรีของพระองค์ได้โดดเด่นและเป็นหนึ่งในครูศาสตราจารย์ WP Trowbridge ของเขาเป็นที่ประทับใจเพื่อที่เขาถาม Hollerith เป็นผู้ช่วยของเขา ดังนั้นหลังจากจบ Hollerith เป็นผู้ช่วย Trowbridge, แรก Columbia University แต่ภายหลังเขาได้เข้าร่วมสหรัฐอเมริกาสำมะโนประชากรสำนักเป็นสถิติเมื่อ Trowbridge ได้รับการแต่งตั้งหัวหน้า Special Agent ไปสำมะโนประชากรสำนัก. นัดนี้สำคัญมากเพราะในการแก้ปัญหาของการวิเคราะห์จำนวนมากของข้อมูลที่สร้างโดย 1,880 สำมะโนประชากรสหรัฐที่ Hollerith ถูกนำไปสู่การมองหาวิธีการจัดการกับข้อมูลเครื่องจักร. ความคิดในความเป็นจริงมาจาก Billings Dr John Shaw ผู้ Hollerith มาติดต่อกับในงานของเขาในสหรัฐอเมริกาสำมะโนประชากรสำนัก. Hollerith เขียนมากภายหลัง ใน 1,882 Hollerith ร่วม Massachusetts Institute of Technology ซึ่งเขาสอนวิศวกรรมเครื่องกล. ขณะนี้เขาตรวจสอบคำแนะนำ Billings, ตรวจสอบวิธีการที่ Jacquard กี่ทำงานร่วมกับดูจะพบว่ามันสามารถใช้ในงานสำมะโนประชากร. เขาพบว่าในที่สุดเคารพในหน้าที่ของ Jacquard กี่ออกห่างจากสิ่งที่อาจเป็นประโยชน์ในการทำงานสำมะโนประชากรแต่เขารู้ว่าบัตร punched เป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพในการเก็บข้อมูล. แนวคิดลหลงเขาอีกหนึ่งวันในการเดินทางรถไฟเป็นเขาจับตาดูตั๋วเก็บตั๋วชกมวย. นี่คือวิธีง่ายๆในการชกต่อยข้อมูลไปยังบัตร ขณะที่เขาทำงานที่ Massachusetts Institute of Technology Hollerith เริ่มการทดสอบแรกของเขา. เหล่านี้ใช้เทปกระดาษมากกว่าบัตรด้วย pins ซึ่งจะผ่านหลุมในเทปและเสร็จสิ้นการติดต่อไฟฟ้า. คิดเป็นเกือบสิทธิแต่เทปได้ drawbacks นับตั้งแต่มีการหยุดให้ pin ไปถึงหลุมเพื่อให้ติดต่อ. Hollerith realised ว่าบัตรจะให้โซลูชันที่ดีกว่า.

     แอลัน แมธิสัน ทัวริง (Alan Mathison Turing) เกิดเมื่อวันที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2455 (ค.ศ. 1912) ที่ลอนดอน ประเทศอังกฤษ เป็นนักคณิตศาสตร์, นักตรรกศาสตร์, นักรหัสวิทยา และวีรบุรุษสงคราม ชาวอังกฤษ และเป็นที่ยอมรับว่าเป็นบิดาของวิทยาการคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นผู้สร้างรูปแบบอัลกอริทึมและการคำนวณ โดยใช้เครื่องจักรทัวริง อย่างเป็นทางการทางคณิตศาสตร์ หรือ บิดาของวิทยาการคอมพิวเตอร์
     ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง Alan Turing มีส่วนสำคัญในการแกะรหัสลับของฝ่ายเยอรมัน โดยเขาเป็นหัวหน้าของกลุ่ม Hut 8 ที่ทำหน้าที่ในการแกะรหัสของเครื่องอีนิกมาที่ใช้ในฝ่ายทหารเรือ หลังจากสงครามโลก เขาได้ออกแบบเครื่องคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถโปรแกรมได้เครื่องแรกๆ ของโลกที่ห้องปฏิบัติการฟิสิกส์แห่งชาติ และได้สร้างเครื่องคอมพิวเตอร์ขึ้นจริงๆ ที่มหาวิทยาลัยแมนเชสเตอร์
     ปี พ.ศ. 2474 เขาเข้าเรียนคณิตศาสตร์ ที่ คิงส์คอลเลจ มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ทัวริงมีความสุขกับชีวิตที่นี่มาก ทัวริงพูดเสมอว่า “งานของผมนั้นเครียดมาก และทางเดียวที่ผมจะเอามันออกไปจากหัวได้ก็คือ วิ่งให้เต็มที่” และเขาก็วิ่งอย่างจริงจัง จนได้ระดับโลก โดยที่ผลการวิ่งมาราธอนของเขา ชนะเลิศการแข่งขันของสมาคมนักกรีฑาสมัครเล่น ด้วยเวลา 2 ชั่วโมง 43 นาที 3 วินาที ในปี พ.ศ. 2489. ซึ่งในการแข่งขันวิ่งมาราธอนโอลิมปิก เมื่อ พ.ศ. 2491 (ค.ศ. 1948) คนที่ได้เหรียญทอง ทำเวลาได้เร็วกว่าเขาเพียง 11 นาที
     ในปี ค.ศ. 1952 เขาถูกจับ โทษฐานมีเพศสัมพันธ์กับเด็กชาย ทัวริงไม่ปฏิเสธและยอมรับโทษแต่โดยดี มีทางเลือกให้เขาสองทางคือ หนึ่ง เข้าคุก หรือ สอง รับการฉีดฮอร์โมนเอสโตรเจนเป็นเวลาหนึ่งปีเพื่อลดความต้องการทางเพศ ซึ่งเขาเลือกที่จะรับการฉีดยา และแล้วปี ค.ศ. 1954 ร่างของทัวริงก็ถูกพบโดยพนักงานทำความสะอาด ในสภาพมีแอปเปิลครึ่งลูกหล่นอยู่ข้างๆ และมีร่องรอยการทำการทดลองทางเคมีอยู่ใกล้ๆ ในที่สุดเมื่อวันที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2552 หลังจากการรณรงค์ทางอินเทอร์เน็ต กอร์ดอน บราวน์นายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรก็ทำการขอโทษอย่างเป็นทางการในนามของรัฐบาลบริติชต่อวิธีอันไม่ถูกต้องที่รัฐบาลปฏิบัติต่อทัวริงหลังสงคราม

     Konrad Zuse ถูกนำขึ้น Braunsberg ตะวันออกปรัสเซียซึ่งเขาเข้าร่วม Humanistisches สนามกีฬา. เขาป้อน Technische Hochschule แห่งเบอร์ลิน-Charlottenburg ใน 1,927 ซึ่งเขาเอาหลักสูตรวิศวกรรมโยธา. เดิมศึกษาเหล่านี้วิศวกรรมที่นำ Zuse เป็นที่สนใจในการพัฒนาเครื่องกลไกสำหรับคำนวณประมาณ 1,934. เขาพบว่าเขาใช้เวลาหลาการทำงานผ่านการคำนวณสถิตศาสตร์ยาวที่ให้ความสำคัญในการฝึกอบรมของวิศวกรโยธา
     หลังจากจบ Zuse ร่วม Henschel เครื่องบินของบริษัทซึ่งเขาทำงานกับการวิเคราะห์ความเครียด. โดยเฉพาะเขาเน้นการศึกษาที่เกิดจาก vibrations ของปีกเครื่องบินของ. งานของพระองค์ที่เกี่ยวข้องอีกครั้งประดาและเพื่อการคำนวณเพื่อให้เขาดำเนินการคำนวณเหล่านี้ Zuse สร้างคอมพิวเตอร์ Z1 ของเขาในบิดามารดาของเขาอยู่ห้อง. เขาเขียนว่า : ผมเริ่มที่ 1,934 ทำงานอิสระและไม่มีความรู้ในการพัฒนาอื่นๆที่เกิดขึ้นรอบฉัน. ในความเป็นจริงฉันไม่ได้ยินแม้แต่ของ Charles Babbage เมื่อ embarked ในการทำงานของฉัน.
     Zuse เสร็จเครื่องใน 1,938. มันเป็นกลทั้งหมดมีหน่วยคำนวณประกอบด้วยจำนวนมากสวิตช์เครื่องกลและหน่วยความจำประกอบด้วยชั้นของแถบโลหะระหว่างชั้นของกระจก. หนึ่งในคุณสมบัติใหม่ที่สุดของมันแล้วว่าจะเป็นโปรแกรมโดยเทป punched. เหตุผลหลักว่าทำไม Zuse ประสบความสำเร็จในการสร้างคอมพิวเตอร์กลของเขาที่ Babbage ได้ล้มเหลวคือความจริงที่ Z1 Zuse ของเป็นเครื่อง binary สองตำแหน่งสวิทช์เพื่อแสดง 0 และ 1. แต่กล่าว Zuse ที่ประสบความสำเร็จกับ Z1 เป็นบิตของการพูดเกินจริงสำหรับเครื่องไม่ได้ดี. หน่วยความจำที่มีคุณสมบัติสำเร็จวิธีการที่คำสั่งถูกส่งผ่านเชื่อมโยงกลไม่สำเร็จ.
แผนการ Zuse ของการพัฒนาคอมพิวเตอร์ที่ใหญ่กว่าและดีกว่า Z2 ที่เกี่ยวข้องทำให้ระบบหน่วยความจำเดียวกันแต่แทนที่หน่วยเลขคณิตเครื่องกลด้วยรีเลย์ไฟฟ้า. แต่โครงการถูกขัดจังหวะโดยสงครามโลกครั้งที่สองเมื่อ Zuse ได้เรียกค่าบริการทหาร. เขาใส่ในราบเยอรมันแต่ persuaded ทัพเพื่อให้เขากลับไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์อาคาร.
สาม Reich ของ Aerodynamic สถาบันวิจัยรับการสนับสนุนการทำงานของเขาและเขาเสร็จอาคาร Z2 ซึ่งยังคงใช้คอมพิวเตอร์ทดลอง. เขาแล้วความก้าวหน้าในการสร้าง Z3 ซึ่งเป็นคอมพิวเตอร์เครื่องแรกที่ Zuse สร้างขึ้นเพื่อใช้แทนการทดสอบความคิดของเขา. Z2 และคอมพิวเตอร์ Z3 เป็นเครื่องถ่ายทอดไฟฟ้าและ Z3 ให้เสร็จ 1,941, มีหน่วยความจำไฟฟ้าประกอบด้วยรีเลย์เป็นหน่วยเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ไฟฟ้า.ของหลักสูตรเพื่อให้เป็นประโยชน์สำหรับการคำนวณ, Z3 ที่จำเป็นรีเลย์จำนวนมากและแน่นอนมันมีประมาณ 2,600. มันเป็นโปรแกรมแรกของการดำเนินงานควบคุมเครื่องคำนวณและได้ใช้ในอุตสาหกรรมเครื่องบินเยอรมันในการแก้ระบบสมการพร้อมกันและระบบคณิตศาสตร์อื่นๆที่มีการผลิตโดยปัญหาของการซื้อขายกับการสั่นสะเทือนของ airframes วางภายใต้ความเครียด.
แต่เมื่อ Zuse เสนอคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในวาล์วอิเล็กทรอนิกส์ให้ข้อเสนอถูกปฏิเสธในบริเวณที่ชาวเยอรมันได้ให้ใกล้เคียงกับที่ชนะสงครามโลกครั้งที่พยายามวิจัยที่ต่อได้ไม่จำเป็นต้อง.
บาง Zuse ของคอมพิวเตอร์ถูกทำลายใน raids ระเบิดใกล้สิ้นสงครามแม้ว่า Z3 ได้ reconstructed ใน 1,960 แสดงในพิพิธภัณฑ์ในมิวนิค. Zuse เริ่มทำงานบนคอมพิวเตอร์ Z4 ของเขาใน 1,942 และก็เกือบจะเสร็จสมบูรณ์เมื่อเนื่องจาก raids อากาศอย่างต่อเนื่องจะถูกย้ายจากเบอร์ลินเพื่อ Göttingen. หลังจากเพียงไม่กี่สัปดาห์ Göttingen อยู่ในอันตรายของการบันทึกโดยยกรัสเซีย advancing และ Z4 ถูกย้ายอีกครั้งไปยังหมู่บ้านเล็ก Hinterstein ในบาวาเรียนี้. Z4 เป็นรหัส Versuchsmodell 4 หรือ V4 และซ่อนไว้ในห้องใต้ดินของบ้าน. Ashurst เขียน: เนื่องจากความสัมพันธ์ของ V4 กับ bombs บิน V1 และ V2 และ rockets, ยกอังกฤษและอเมริกันที่พบในที่สุด (มันก็ไม่ได้พบโดยฝรั่งเศสผู้เข้าหมู่บ้านแรก) ก็แปลกใจมากเมื่อป้องกันหลายอย่างของพวกเขาไม่จำเป็นและ V4 พิลึกเป็นเพียงการชุมนุมของบิตเครื่องกลและชิ้น.
สุดท้ายคอมพิวเตอร์ Z4 ถูกนำไปวิตเซอร์แลนด์ซึ่งติดตั้งใน ETH ในซูริคใน 1,950. มันอยู่ปฏิบัติงานมีจนถึง 1,955 เมื่อมันถูกย้ายไปปิดวิจัยฝรั่งเศส aerodynamical สถาบันที่บาเซิลซึ่งอยู่ในการใช้จนถึง 1,960.Zuseจริงในการออกแบบเครื่องคอมพิวเตอร์หลายๆนอกเหนือจากชุดของเขา Z. S1 และ S2 คอมพิวเตอร์ของเขาใช้ในการคำนวณการวัดเฉพาะที่จำเป็นสำหรับการผลิตเครื่องบิน. สำหรับ S2 คอมพิวเตอร์รวมอุปกรณ์การวัดเพื่อให้วัดของเครื่องบินในการผลิตและการให้อาหารเหล่านี้ได้โดยตรงในการคำนวณ. คอมพิวเตอร์ L1 ซึ่ง Zuse ออกแบบไม่ได้แก้ปัญหาเกี่ยวกับคณิตศาสตร์แต่ถูกออกแบบมาเพื่อแก้ปัญหาลอจิคัล. เพียงเวอร์ชันทดลองผลิตไม่ทำงานต่อการกระทำความคิดนวัตกรรมนี้.
การพัฒนาเหล่านี้ทั้งหมดเป็นอิสระของผู้ John Eckert, Mauchly และ Howard Aiken ในสหรัฐอเมริกาและทัวริงในอังกฤษ  หลังจากสงครามโลกครั้งที่ถูกที่สุดผ่านข่าวของมหาวิทยาลัยเพนซิลวาเนียเครื่อง ENIAC ไปรอบโลกทั้งหมด - "18,000 หลอด!". เราสามารถสั่นหัวของเรา. สิ่งที่อยู่ในแผ่นดินทั้งหมดเป็นท่อสำหรับ? ... การพัฒนาภาษาอังกฤษเรียกว่าเป็นยักษ์ใหญ่ไม่เคยได้ยินจากนอกวงของการทำงานเป็นหมู่. มันเป็นเพียงเท่าภายหลังว่า wraps มาปิดโครงการนี้น่าสนใจมาก.
Zuse ตั้งบริษัทคอมพิวเตอร์ของตัวเองใน 1,950 เขาก็เอาไปจาก Siemens ในบริษัทอิเล็กทรอนิกส์ 1,967. ใน 1,965 เขาได้รับการทรมาน M Goode Memorial Award, เหรียญและ $ 2,000 รางวัลโดย Computer Society:สำหรับการช่วยเหลือให้เขาและความพยายามในการสำรวจในคอมพิวเตอร์โดยอัตโนมัติ; สำหรับอิสระเสนอการใช้ระบบไบนารีและลอยเลขคณิตจุดและการออกแบบโปรแกรมแรกคอมพิวเตอร์ควบคุมในเยอรมัน - หนึ่งในเร็วในโลก.
โดยเขาได้ถึง 1,958 คอมพิวเตอร์ Z22 ซึ่งเป็นคนหนึ่งในครั้งแรกที่จะออกแบบ transistors. Zuse ยังคงทำวิจัยในคอมพิวเตอร์และการดำเนินการเป็นที่ปรึกษาด้านการ Siemens หลังจากที่บริษัทเอาไปควบคุมของบริษัทคอมพิวเตอร์ Zuse ใน 1,969.
ตลอดจนการพัฒนาฮาร์ดแวร์ของเขายัง Zuse สนใจในซอฟต์แวร์เขาพัฒนาภาษาแรก algorithmic เรียกว่า "Plankalkül" ใน 1,945. เขาใช้ภาษาในการออกแบบโปรแกรมการเล่นหมากรุก. แม้ว่าภาษาที่ไม่แพร่หลายใช้เป็นรูปแบบพื้นฐานสำหรับ ALGOL ภาษารุ่นต่อไปซึ่งแน่นอนโลกเป็นภาษาที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย-กว้าง.


     
     Prof.Howard H. Aiken ในปี ค.ศ. 1937 ศาสตราจารย์ โฮเวิร์ด ไอเค็น (Professor Howard H. Aiken) ร่วมมือกับวิศวกรจากไอบีเอ็กได้สร้างเครื่อง MARK I ซึ่งเป็นการสานแนวความคิดของแบบเบจได้สำเร็จ โดยเครื่อง MARK I นี้เป็นเพียงเครื่องจักรกลทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electro-Mechanical Machine) ซึ่งสร้างด้วยสวิตช์จักรกลไฟฟ้า ที่เรียกว่า ตัวรีเลย์ (Electro-Magnetic Relays) และเครื่อง MARK I ได้สร้างเสร็จสมบูรณ์เมื่อปี ค.ศ. 1944


     Dr. John V. Atanasoff ดร.จอห์น วี.อะทานาซอฟฟ์ (1903-1995 ) ผลงานเด่น:ABC,คอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์เครื่องแรก
     จอห์น วี. อะทานาซอฟฟ์ (John V. Atanasoff) เกิดเมื่อวันที่ 4 ตุลาคม ค.ศ.1903 ที่เมืองนิวยอร์ค สหรัฐอเมริกา ท่านเป็นผู้ประดิษฐ์เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ไฟฟ้าเป็นคนแรก คือเครื่อง ABC เมื่อปี ค.ศ. 1937 (ก่อนหน้านี้เป็นคอมพิวเตอร์แบบเครื่องจักรกล) ในขณะนั้นเขาอาจไม่รู้ว่าผลงานของเขาจะมีบทบาทต่อชีวิตความเป็นอยู่ของมนุษย์ ในอนาคตมากมายขนาดนี้ เขาได้เปิดประตููสู่ยุคคอมพิวเตอร์ีให้กับคนรุ่นหลังได้พัฒนาต่อยอดมาจนกลายเป็น คอมพิวเตอร์ในปัจุบัน 
ท่านเสียชีวิตเมื่อวันที่ 15 มิถุนายน 1995



     John W. Mauchly และ Persper Eckert พ.ศ. 2486 ซึ่งเป็นช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ศูนย์วิจัยของกองทัพบกสหรัฐอเมริกามีความจำเป็นที่จะต้อง คิดค้นเครื่องช่วยคำนวณ เพื่อใช้คำนวณหาทิศทางและระยะทางในการส่งขีปนาวุธ ซึ่งถ้าใช้เครื่องคำนวณที่มี อยู่ในสมัยนั้นจะต้องใช้เวลาถึง 12 ชั่วโมงในการคำนวณ การยิง 1 ครั้ง ดังนั้นกองทัพจึงให้กองทุนอุดหนุนแก่ John W. Mauchly และ Persper Eckert จากหมาวิทยาลัยเพนซิลวาเนีย ในการสร้างคอมพิวเตอร์ จากอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ขึ้นมา โดยนำหลอดสุญยากาศ (Vacuum Tube) จำนวน 18,000 หลอด มาใช้ในการสร้าง ซึ่งมีข้อดีคือ ทำให้เครื่องมีความเร็ว และมีความถูกต้องแม่นยำในการคำนวณมากขึ้น ในด้านของความเร็วนั้น เครื่องจักกลมีความเฉื่อยของการเคลื่อนที่ของชิ้นส่วนประกอบ แต่คอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์ จะใช้อิเล็กตรอนเป็นตัวคลื่อนที่ ทำให้สามารถส่งข้อมูลด้วยกระแสไฟฟ้าได้ ด้วยความเร็วใกล้เคียงกับความเร็วของแสง ส่วนความถูกต้องแม่นยำในการทำงานของเครื่องจักรกลอาศัยฟันเฟือง รอก คาน ในการทำงาน ทำให้ทำงานได้ช้า และเเกิดความผิดพลดได้ง่าย 

ดร.จอห์น ฟอน นอยมานน์ (Dr.John von Neumann) ได้สร้างแนวคิดในการจัดเก็บโปรแกรม (Storde Program Concept) โดยมีหน่วยความจำที่สามารถทำหน้าที่ในการจัดเก็บได้ทั้งข้อมูล (Data) และชุดคำสั่ง (Instructinos) และนอยมานน์ก็ได้ร่วมมือกับทีมงานเดิมที่ได้สร้างเครื่อง ENIVAC เพื่อสร้างเครื่องคอมพิวเตอร์ EDVAC (Electronic Discrete Variable Automatic Computer) และ EDSAC (Electronec Delay Storage Automatic Computer) ซึ่งเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์รุ่นแรกๆ ที่ใช้แนวคิดในการจัดเก็บโปรแกรมเป็นต้นมา


     Dr.Ted Hoff ดร.เทด ฮอฟฟ์ แห่งบริษัทอินเทลได้มีการพัฒนาไมโครโปรเซสเซอร์รุ่น Intel 4004


Steve Jobs & Steve Wazniak ได้สร้างแอปเปิลคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องแรก ภายใต้ชื่อว่า Apple llและได้รับการตอบรับถึงความสำเร็จอย่างรวดเร็วทั่วโลก เครื่องคอมพิวเตอร์ดังกล่าวได้มีการนำไปใช้งานสถาบันการศึกษาต่างๆ และนักศึษาหลายคนก็ได้มีโอกาสสัมผัสเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นครั้งแรก


Bill Gates บริษัทไอบีเอ็ม เสนอให้บริษัทไมโครซอฟท์ซึ่งเป็นของ บิลเกตส์ ให้ทำการพัฒนาโปรแกรมระบบปฏิบัติการที่ใช้งานบนเครื่องไอบีเอ็มพีซี (PC-DOS) หลังจากนั้นเป็นต้นมา บิลเกตส์ก็ได้พัฒนาระบบปฏิบัติการ MS-DOS ขึ้นมาใช้งานบนเครื่องพีซีทั่วไป ทำให้ประสบความสำเร็จอย่างล้นหลาม






วันพฤหัสบดีที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2556

สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดภูเก็ต



                           เกาะราชาใหญ่

เกาะราชา
สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดภูเก็ต



 สถานที่ท่องเที่ยวท่องเที่ยว
ท่องเที่ยว


           เกาะราชาใหญ่เป็นเกาะที่มีหาดทรายขาวสะอาด การเดินทางสามารถเช่าเรืองหาง ยาวเหมาลำได้ที่อ่าวฉลองราคาประมาณ 1,200 บาท เรือบรรทุก 10 คนใช้เวลาเดินทาง 2 - 3 ชั่วโมง การเดินทางในช่วงฤดูที่ไม่มีมรสุม ประมาณเดือนธันวาคม - เมษายน หรืออาจใช้บริการนำเที่ยวของบริษัททัวร์ทั่วไปในตัวเมืองภูเก็ต บนเกาะมีที่พักชื่อรายาอันดามันรีสอร์ท โทร. 381710-2

ประวัติส่วนตัว


         สวัสดีครับกระผม นายพชร    นามสกุล ปกสกุล    ชื่อเล่น ก็อฟ
         บ้านเลขที่  14/36 หมู่ 2   ตำบล กมลา   อำเภอ กะทู้   จังหวัด ภูเก็ต   รหัสไปรษณีย์ 83150
         จบการศึกษาจาก  โรงเรียน  ตัสดีกียะห์