วันศุกร์ที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

แบบทดสอบบทที่ 4 เรื่อง ซอฟต์แวร์
https://docs.google.com/forms/d/1ttpu-ii_aE_dNNsAaSE_kgjDxHnrVdRjGG17DCYlgHY/viewformคลิ๊กเพื่อทำแบบทดสอบ

วันพฤหัสบดีที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

รหัส ASCII (American Standard Code for Information Interchange)

         รหัสแอสกี เป็นรหัสที่นิยมใช้กันมาก จนสามมารถนับได้ว่าเป็นรหัสมาตรฐานที่ใช้ใน การสื่อสารข้อมูล ( Data Communications) ซึ่งจำเป็นต้องใช้รหัสการแทนข้อมูลเป็นระบบเดียวกัน เพื่อให้สามารถรับ - ส่งข้อมูลได้ในความหมายเดียวกัน รหัสแอสกีใช้เลขฐานสอง 8 หลักแทนข้อมูลหนึ่งตัวเช่นเดียวกับรหัสเอบซีดิค นั่นคือ 1 ไบต์มีความยาวเท่ากับ 8 บิต รวมทั้งมีการแบ่งรหัสออกเป็นสองส่วน คือ โซนบิตและนิวเมอริกบิตเช่นเดียวกัน




รหัส Unicode

เป็นรหัสแบบใหม่ล่าสุด ถูกสร้างขึ้นมาเนื่องจากรหัสขนาด 8 บิตซึ่งมีรูปแบบเพียง 256 รูปแบบ ไม่สามารถแทนภาษาเขียนแบบต่าง ๆ ในโลกได้ครบหมด โดยเฉพาะภาษาที่เป็นภาษาภาพ เช่น ภาษาจีนหรือภาษาญี่ปุ่นเพียงภาษาเดียวก็มีจำนวนรูปแบบเกินกว่า 256 ตัวแล้ว  UniCode จะเป็นระบบรหัสที่เป็น 16 บิต จึงแทนตัวอักษรได้มากถึง 65,536 ตัว ซึ่งเพียงพอสำหรับตัวอักษรและสัญลักษณ์กราฟฟิกโดยทั่วไป รวมทั้งสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ต่าง ๆ ในปัจจุบันระบบ UniCode มีใช้ในระบบปฏิบัติการWindow NT ระบบปฏิบัติการ UNIX บางรุ่น รวมทั้งมีการสนับสนุนชนิดข้อมูลแบบ UniCode ในภาษา JAVA ด้วย


POTSHARA POKSAKUL

P= 0111 0000
O= 0110 1111
T= 0111 0100
S= 0111 0011
H= 0110 1000
A= 0110 0001
R= 0111 0010
A= 0110 0001

P= 0111 0000
O= 0110 1111
K= 0110 1011
S= 0111 0011
A= 0110 0001
K= 0110 1011
U= 0111 0101
L= 0110 1100

วันพฤหัสบดีที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

บิตตรวจสอบ

- เลขฐานสองที่ใช้ในคอมพิวเตอร์มีอัตตราความผิดพลาดต่ำ เพราะมีค่าความไปได้0 หรือ 1เท่านั้น แต่ก็อาจจะเกิดข้อบกพร่องขึ้นได้ภายในหน่วยความจำ
- ดังนั้น บิตตรวจสอบ หรือ พาริตี้บิต จึงเป็นบิตที่เพิ่มเติมเข้ามาต่อท้ายอีก 1 บิต ซึ่งถือเป็นบิตพิเศษที่ใช้สำหรับตรวจสอบความแม่นยำและความถูกต้องของข้อมูลที่จะจัดเก็บลงในคอมพิวเตอร์